Faculty of Science and Technology Suan Sunandha Rajabhat University : SSRU
โปรแกรม คณิตศาสตร์สารสนเทศ
สาขาวิทยาศาสตร์และนวัตกรรม
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
curriculum vitae : cv
ประวัติการศึกษา : ซีวี
รศ.ดร. โกมล ไพศาล
***********
ประวัติการศึกษา
- สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี วท.บ (ศึกษาศาสตร์) สาขาคณิตศาสตร์
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขต ปัตตานี (2526)
- สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท กศ.ม (คณิตศาสตร์) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร
(2529)
- สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอก กศ.ด (คณิตศาสตร์ศึกษา) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
ประสานมิตร (2540)
ประสบการณ์การทำงาน
- อาจารย์ประจำคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2529 ถึง 2533
- อาจารย์ประจำมหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2533 ถึง 2546
- หัวหน้าโปรแกรมวิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้าน
จอมบึงตั้งแต่ปี พ.ศ. 2541 ถึง 2546
- อาจารย์ประจำมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2546 ถึง ปัจจุบัน
- รองผู้อำนวยการสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2548 - 2551
- รองประธานศูนย์ให้การศึกษาโรงเรียนเทคนิคพาณิชยการธนบุรี ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2549 - 2552
- อาจารย์พิเศษสอนระดับปริญญาโท สาขาคณิตศาสตร์ศึกษา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร พ.ศ. 2547 ถึง 2549
- อาจารย์สอนระดับปริญญาโท สาขาคณิตศาสตร์ศึกษาสารสนเทศ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2549 ถึง พ.ศ.2554
- เป็นที่ปรึกษาโครงการส่งเสริมและพัฒนาอัจฉริยภาพทางคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ของจังหวัด
สมุทรสงคราม
- เป็นที่ปรึกษาจัดค่ายคณิตศาสตร์ให้กับนักเรียนช่วงชั้นที่ 1-2 ( ป.1 – ป.6 ) ในหลายจังหวัด เช่น
จังหวัดราชบุรี กาญจนบุรี และบุรีรัมย์
- เป็นวิทยากรเกี่ยวกับ “คณิตศาสตร์เพื่อความเป็นเลิศ” ให้กับนักศึกษาระดับปริญญาตรีของ
มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง
- เป็นวิทยากรเกี่ยวกับ “การวิจัยในชั้นเรียน” ให้กับครูในเขตจังหวัดราชบุรีและใกล้เคียง
- เป็นผู้ทรงคุณวุฒิในการวิพากษ์หลักสูตรคณิตศาสตร์ในระดับปริญญาตรีให้กับมหาวิทยาลัย ราชภัฏ
พระนคร มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึงและมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา
- เป็นผู้ช่วยบรรณาธิการในการจัดทำวารสารทางวิชาการ “สวนสุนันทาวิชาการและวิจัย” ของ
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา (2549-2551)
- รองคณบดีฝ่ายวิชาการ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (2554 – 2556)
- ประธานกรรมการตัดสินการแข่งขันโครงงานคณิตศาสตร์ ระดับมัธยมตอนต้นและตอนปลาย(2554)
- ประธานกรรมการตัดสินการแข่งขันโครงงานคณิตศาสตร์ ระดับมัธยมตอนต้นและตอนปลาย(2555)
- รองผู้อำนวยการสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2555 ถึง
พ.ศ. 2559
- รักษาการผู้อำนวยการสำนักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2559 ถึง
พ.ศ. 2563
-กรรมการวารสาร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
-กรรมการวารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏเพรชบุรี
-กรรมการวารสารมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขต นครศรีธรรมราช
-กรรมการวารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง
- กรรมการวิพากษ์หนังสือเรียนระดับประถมศึกษาตอนต้น (ป.1 - ป.3) ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2550 ถึง
พ.ศ.2560
- กรรมการวิพากษ์หนังสือเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.1 - ม.3) ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2560 ถึงปัจจุบัน
- ตรวจบทความวิจัยของวารสารสักทองให้กับมหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร พ.ศ.2564
- กรรมการประเมินภายนอกของการศึกษานอกระบบและตามอัธยศัย ในกำกับของ สมศ.
(24/06/2564)
การฝึกอบรมและการศึกษาดูงาน
การฝึกอบรม
-อบรมการเขียนภาษาอังกฤษ2 ที่มก.(ส/11-01/57)
-อบรมการเขียนภาษาอังกฤษ1 ที่มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (2556)
-อบรมการใช้โปรแกรมลิสเรล ที่มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช(2556)
- อบรมการใช้โปรแกรม AMOS (2554)
- อบรมการเขียนโปรแกรม ภาษา ซี # (2554)
- อบรมหลักสูตร “การใช้โปรแกรม MATHLAB” มหาวิทยาลัยมหิดล (2551)
การศึกษาดูงาน
-ดูงานที่โตเกียว เกียวโต ประเทศญี่ปุ่น (2543)
- ดูงานที่เซี่ยงไฮ ปักกิ่ง ประเทศจีน (2549)
- ดูงานที่เวียงจันทร์ ประเทศลาว (2549)
- ดูงานที่เซี่ยเหมิน ประเทศจีน (2550)
- ดูงานประเทศสิงคโปร์และมาเลเซีย (2550)
- ดูงานที่โตเกียว ประเทศญี่ปุ่น (2551)
- ดูงานที่ ดูไบ ประเทศ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ (2553)
- ดูงานกุ้ยหลิน ประเทศจีน (7-11/07/55)
- ดูงานที่ฮานอย ประเทศเวียดนาม(2555)
-นำเสนอผลงานวิจัยที่ซูริค ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ (11-18/01/2556)
-ดูงานที่กรุงโรม และเมืองเวนิส ประเทศอิตาลี (19-30/07/2556)
-ดูงานที่ลูกาโน และลูเซิน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ (19-30/07/2556)
- ดูงานและร่วมทำบุญที่เมืองพุทธคยา ประเทศอินเดีย (15-17/11/2556)
- นำเสนองานวิจัยที่ลอนดอนประเทศอังกฤษและดูงานที่ประเทศสก็อตแลนด์ และเวลล์ (18-16/01/2557)
- ดูงานที่ประเทศออสเตรเลีย (25 /07 /2557 -1 /08/2557)
- นำเสนองานวิจัยที่กรุงปราก ประเทศเชกและดูงานที่ประเทศออสเตรีย (7-15/08/2557)
- นำเสนองานวิจัยที่เอเธนประเทศกรีซ-อิตาลี (30/12/2557- 9/01/2558)
- ดูงานที่ปารีส ประเทศฝรั่งเศส (8-15/05/2558)
- ดูงานที่แมดริด ประเทศสเปน และลิสมอน ประเทศโปรตุเกส (29/01/2559 - 7 /02 /2559)
- ดูงานที่ ไทเป ประเทศไต้หวัน (28 /08/2559 - 1/09/2559)
- ดูงานที่เมืองเวนิส มิลาน ประเทศอิตาลี ลูกาโน อินเทอร์ลาเก้น ลูเซร์น ประเทศสวิตเซอร์แลนด์(5/11 –
13/11/2559)
- นำเสนองานวิจัยที่เมือง nice ประเทศฝรั่งเศสและ ดูงานที่เมืองมอนเตการ์โล ประเทศโมนาโก (28 /01-
4 /02/2560)
- ดูงานที่เมืองบาหลี ประเทศอินโดนีเซีย (23-25/07/2560 )
- ดูงานที่เมืองอินช็อน โซล ประเทศเกาหลีใต้ (23 -27/08/2560)
-ดูงานที่กรุงบรัสเซลส์ ประเทศเบลเยี่ยมและกรุงอัมสเตอร์ดัม ประเทศเนเธอร์แลนด์ (10-16/11/2560)
-ดูงานที่เมืองเรคยาวิค ประเทศไอซ์แลนด์และเมืองโคเปนเฮเก้น ประเทศเดนมาร์ก (17-23/11/2560)
- ดูงานที่เมืองย้างกุ้ง ประเทศเมียนมาร์ (28/11/60-1/12/2560)
- ดูงานและนำเสนองานที่ประเทศเยอรมันนี (19 - 27 / 02 /2561)
-ดูงานที่ประเทศสิงคโปร์ (21-23/04/2561)
- ดูงานและนำเสนองานที่เมืองเคปทาวน์และโยฮันเนสเบริก ประเทศอัฟริกาใต้ (20-26/06/2561)
- ดูงานและนำเสนองานที่เมื่องสต็อกโฮล์ม ประเทศสวีเดนและเมืองออสโล ประเทศนอร์เวย์ (22-
29/07/2561)
- ดูงานที่เมืองกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย (6-8/08/2561)
- ดูงานที่เมืองสต๊อกโฮล์ม ประเทศสวีเดน และที่เมื่องเฮลซิงกิ ประเทศ ฟินแลนด์ (16-22/12/2561)
- ดูงานที่ซาปา ลาวไก ฮาลองบก ประเทศเวียดนาม (13-16/03/2562)
- ดูงานและนำเสนองานทีเมืองอัมสเตอร์ดัม ลิเซ่ ประเทศเนเธอร์แลนด์ โคโลญจน์ เมืองแฟรงก์เฟริด เมือง
ไฮเดลเบิร์ก เมืองเกนเกนบาร์ก เมืองไฟร์บวร์ก เมืองทิติเซ่ เมืองมิวนิก ประทศเยอรมัน (7-14/05/2562)
- ดูงานประเทศฮ่องกง (27/06/2562)
- ดูงานและนำเสนองานวิจัยที่กรุงเรคยาวิก ประเทศไอร์แลนด์ และเมืองเฮลซิงกิ ประเทศฟินแลนด์
(1-8/08/2562)
งานวิจัย
- วิจัยเรื่อง “ปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาระดับปริญญาตรี โปรแกรม
วิชาคณิตศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏกลุ่มรัตนโกสินทร์” (ได้รับทุนทำวิจัยจากสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ปี 2549)
- วิจัยเรื่อง “การเรียนรู้วิทยาศาสตร์เพื่อการพัฒนาท้องถิ่น” (ได้รับทุนทำวิจัยจาก สำนักงานคณะกรรมการ
วิจัยแห่งชาติ ปี 2551)
- วิจัยเรื่อง “ การจัดการเรียนรู้การแก้ปัญหาคณิตศาสตร์ในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น” ได้รับทุนจาก
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ปี 2553
- วิจัยเรื่อง “ โครงการส่งเสริมและสนับสนุนการมีงานทำของนักเรียน นักศึกษาให้มีรายได้ระหว่างเรียน ของ
สำนักงานบริหารงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2552 ” (ได้รับทุนวิจัยจากสำนักงานบริหารงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน ปี 2553)
- วิจัยเรื่อง “ การจัดการเรียนรู้ที่ผู้เรียนเป็นผู้สร้างความรู้เองในรายวิชา คณิตศาสตร์วิเคราะห์ ” (ได้รับทุนทำ
วิจัยจากสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ปี 2554)
- วิจัยเรื่อง “ การจัดการเรียนรู้ที่ผู้เรียนเป็นผู้สร้างความรู้เองในรายวิชา แคลคูลัส 1 ” (ได้รับทุนทำวิจัยจาก
สำนักบริหารโครงการวิจัยในอุดมศึกษาและพัฒนามหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ ปี 2554)
- วิจัยเรื่อง “ การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือในรายวิชา หลักมูลฐานคณิตศาสตร์ ” (ได้รับทุนทำวิจัยจาก
สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ปี 2555)
- วิจัยเรื่อง " การพัฒนาโปรแกรมสำหรับการหาค่าปริพันธ์เชิงตัวเลข :Developed program for numerical
integration " (ได้รับทุนจากสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ปี 2557)
-โครงการบริการวิชาการ " อบรมเชิงปฏิบัติการการวิจัยในชั้นเรียนสำหรับครูชั้นประถมศึกษาใน อบต.
สระแก้ว : Training workshop classroom action research for elementary teacher in Nakhon si thammarat province" (26 - 26 /11/57)
- โครงการบริการวิชาการ " โครงการค่ายเยาวชนวิชาการเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ : The academic youth
camp to promote learning "(7 - 9 / 01/58)
- วิจัยเรื่อง " กิจกรรมการเรียนรู้ที่ส่งเสริมความสามารถในการพิสูจน์เรื่องกลุ่มโดยใช้เครือข่ายอินเทอร์เน็ต :
Learning active that enhance the ability to proved the groups by using Web - Based Instruction" (ได้รับทุนจากสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา ปี 2558)
- วิจัยเรื่อง " ผลของกิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุกในรายวิชาทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น : Result of active learning
in this course of elementary number theory " (ได้รับทุนจากสถาบันคลังสมอง ปี 2558)
- วิจัยเรื่อง "รูปลักษณ์ภายนอกของผลไม้ไทยที่เป็นดัชนีบ่งชี้ความแก่เหมาะสมสำหรับนำไปรับประทาน :
กรณีศึกษา ส้มโอ แตงโม มะม่วง ทุเรียน สับปะรด กล้วย " ทุนสถาบันวิจัยสวนสุนันทา (2560)
- วิจัยเรื่อง " การจัดการเรียนรู้ในรายวิชาแคลคูลัสและการประยุกต์ 3 โดยการสอนแบบดอนโก "
ทุนสถาบันวิจัยสวนสุนันทา (2561)
- วิจัยเรื่อง "ผลของการจัดเรียนรู้ในรายวิชาแคลคูลัสเบื้องต้นโดยวิธีการสอนแบบดอนโก" (2561)
-วิจัยเรื่อง "ผลการเรียนแบบร่วมมือในเรื่องอินทิกรัลหลายชั้น" (2562)
- วิจัยเรื่อง " โครงการจัดจ้างที่ปรึกษาดำเนินการติดตามผล ประเมินผลและปรับปรุงระบบประเมินผลขับเคลื่อนการแก้ไขปัญหา จังหวัดชายแดนภาคใต้ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563" (2564)
- วิจัยเรื่อง " สมการไดโอแฟนไทน์ 41x+59y = z2 และ 47x+53y = z2 " (10_2564) ได้นำเสนอที่ มหาวิทยาลัยศรีประทุม
- วิจัยเรื่อง " On exponential Diophantine equation 17x+83y = z2 and 29x+71y = z2 " (11_2564) ได้ตีพิมพ์ในฐาน scopus
ตำรา/เอกสาร
- เอกสารประกอบการสอนวิชา แคลคูลัสและเรขาคณิตวิเคราะห์ 3 (2546)
- บทความทางเรขาคณิตเกี่ยวกับ " การสร้างเบื้องต้น " ตีพิมพ์ในวารสารชื่อ " สารสุนันทา วิจัย "
มรภ. สวนสุนันทา (2550)
- เอกสารทางวิชาการเกี่ยวกับ เรขาคณิต ให้กับ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมธิราช (2554)
- เอกสารประกอบการสอนวิชา พีชคณิตนามธรรม (2559)
- ตำราวิชา หลักมูลฐานคณิตศาสตร์ (2559)
- เอกสารคำสอนวิชา แคลคูลัสและการประยุกต์ 3 (2563)
- ตำราวิชา แคลคูลัสเบื้องต้น (2563)
ความรู้ความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน
- หลักมูลฐานคณิตศาสตร์
- ทฤษฎีจำนวน
-การวิเคราะห์ทางคณิตศาสตร์
- พีชคณิตเชิงเส้น
- ทฤษฎีเซต
- แคลคูลัส 1
- แคลคูลัส 2
- แคลคูลัส 3
- สมการเชิงอนุพันธ์สามัญ
ที่ทำงานปัจจุบัน
สาขาวิชา คณิตศาสตร์สารสนเทศ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
e-mail : komon14@yahoo.com ; komon.pa@ssru.ac.th ; komonpaisal075@gmail.com
donko141@hotmail.com
การสอนของdonko มี 6 ขั้นตอน ดังนี้
1.ขั้นนำ : เป็นการสร้างความสนใจ ตรวจสอบความรู้พื้นฐาน
2.ขั้นสอน : เป็นการเสนอเนื้อหาสาระที่สำคัญ หลักวิธีการและเทคนิค
3.ขั้นปฏิบัติ : ให้นักศึกษาทำโจทย์ ตั้งโจทย์ปัญหาเองพร้อมหาคำตอบ
4.ขั้นสรุป : ให้นักศึกษาช่วยกันสรุปใจความสำคัญของสาระต่างๆโดยมีผู้สอนค่อยเสริมสาระที่ขาดเพื่อเติมเต็ม
5.ขั้นขยายความรู้ : ให้นักศึกษาศึกษาเนื้อหาใหม่ที่เชื่อมโยงกับเนื้อหาที่เรียนมาแล้ว
6.ขั้นประเมินผล : ตรวจสอบความรู้ ความเข้าใจของนักศึกษา
เคล็ดลับการนำงาน
" รับผิดชอบงาน ติดตามงาน และทำงานทุกงานให้ดีที่สุด "
โปรแกรม คณิตศาสตร์สารสนเทศ
สาขาวิทยาศาสตร์และนวัตกรรม
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา